
งานจิตอาสา
จิตอาสาเป็นใจที่นึกถึงผู้อื่น ต้องการช่วยแบ่งเบาความทุกข์ แบ่งปันความสุข คงจะดี ถ้าคุณได้ทำงานอาสาเพื่อสังคมขนาดใหญ่ เช่น ดับไฟป่า เก็บขยะในทะเล ปลูกหญ้าทะเล แต่ถ้าคุณยังไม่มีเวลาขนาดนั้น ลองทำงานจิตอาสาเล็กๆ ก็ได้ เช่น การแยกขยะเศษอาหารช่วยให้คนงานเก็บขยะทำงานง่ายขึ้น การสละคิว สละที่นั่งให้ผู้ที่มีความจำเป็นมากกว่า
นอกจากได้ชื่นชมกับผลงานที่คุณทำสำเร็จแล้ว ลองสังเกตใจของตัวเอง เมื่อได้ทำเรื่องสิ่งเหล่านี้ ลองดูว่าใจของคุณในตอนนั้นว่าพองหรือแฟ่บอย่างไร

สายใยรักกลางชุมชนแออัด
เมื่อเอ่ยคำว่า “ชุมชนแออัด” ภาพที่คนทั่วไปนึกถึงคือเด็กหน้าตามอมแมม บ้านมุงสังกะสีเรียงต่อกันเป็นแนวยาว ผู้ใหญ่มีอาชีพหาเช้ากินค่ำ เด็กส่วนใหญ่เรียนหนังสือแค่จบชั้นประถมก็ต้องออกมาช่วยพ่อแม่ทำงาน หลายคนมีลูกตั้งแต่วัยทีน ทิ้งให้ปู่ย่าตายายเลี้ยงหลาน เมื่อเงินไม่พอใช้ก็เข้าสู่วงจรของยาเสพติดวนเวียนเป็นวัฎจักรเช่นนี้จนเป็นเรื่องธรรมดา โอกาสที่เด็กสักคนจะหลุดพ้นออกจากวังวนปัญหาเหล่านี้จึงเปรียบได้กับแสงเทียนริบหรี่ที่พร้อมจะถูกลมพัดให้วูบดับในชั่ววินาท

I SEE U จิตอาสาข้างเตียง
ความตายเป็นสิ่งที่ทุกคนหนีไม่พ้น…ทุกคงต้องได้เผชิญกับสถานการณ์คนรอบตัวที่กำลังจะหมดหายใจไม่วันใดก็วันหนึ่ง…ถ้าถึงวันนั้น…วันที่คุณต้องไปเยี่ยมผู้ป่วยที่รู้ตัวว่ากำลังจะตาย…คุณจะปฏิบัติตัวอย่างไรเพื่อให้ผู้ป่วยจากโลกนี้ไปด้วยหัวใจสงบ

ภารกิจเพื่อจิตอาสารามาธิบดี
เช้าวันจันทร์ ณ ห้องประชุมกลุ่มจิตอาสา โรงพยาบาลรามาธิบดี“เดี๋ยวน้องคนนี้ไปช่วยงานแผนกพับผ้าสำหรับห้องผ่าตัด ส่วนคนนี้ไปแผนกไปรษณีย์ อีกคนหนึ่งไปห้องอาหารนะคะ”

ป้ามล…ไม้ขีดไฟแห่งความหวังของเยาวชนผู้ก้าวพลาด
ปลายเดือนเมษายน 2560 หนังสือพิมพ์ทุกฉบับพาดหัวข่าวหน้าหนึ่งคดีสะเทือนขวัญ เยาวชนอายุ 18 ปีชื่อเล่น “หมูหยอง” ฆ่าคนแล้วให้สัมภาษณ์ว่า “เหมือนฆ่ามด”

Paper Ranger ฮีโร่จิตอาสาสมุดเพื่อน้อง
เมื่อพูดถึงคำว่า “ฮีโร่” เรามักนึกถึงผู้นำยามวิกฤติที่ช่วยเหลือผู้คนให้รอดพ้นจากอันตราย แต่สำหรับฮีโร่ที่ชื่อ “Paper Ranger” ตัวนี้ เขาจะมาทำหน้าที่บอกกับเราว่า ทุกคนสามารถเป็นฮีโร่จิตอาสาช่วยกันเปลี่ยน “กระดาษเอสี่ใช้แล้วหน้าเดียว” ให้กลายเป็น “สมุดเพื่อน้อง” ได้ด้วยสองมือของเราภายในเวลาไม่กี่นาทีเท่านั้น

เปลี่ยนสังคมด้วยโอกาสให้เด็กพิการเปี่ยมสุข
เพราะยากที่คนปรกติจะชัดเจนภาพชีวิตของคนพิการ งานสื่อสารจึงสำคัญ อภิรดี วานิชกร ย้อนจุดเริ่มเมื่อ 15 ปีก่อนจะเข้ามาคลุกคลีอยู่กับครอบครัวและชุมชนที่มีเด็กๆ บกพร่องทางการใช้ชีวิตร่วมอาศัย เริ่มจากเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายสำนักงานของมูลนิธิเพื่อเด็กพิการ กระทั่งเป็นผู้จัดการฝ่ายสื่อสารและแบ่งปันเพื่อเด็กพิการ