ภาวนา
(ปิดลงทะเบียน) วงสนทนา “พบเพื่อนใจ” ครั้งที่ 10
พื้นที่ที่ทุกคนจะได้กลับมาดูแล รับฟัง ร่วมทบทวน สำรวจตนเอง ฝึกฝนตนเองในเบื้องต้นผ่านการ์ดเพื่อนใจ
สุขในปัจจุบัน…ประสบการณ์ภาวนากับหมู่บ้านพลัม
เวลา 20.32 น. ของวันที่ 5 มีนาคม 2556 ผมโพสต์ข้อความลงบน Facebook ส่วนตัวว่า “เซนนี่มันเป็นอย่างไรนะ” ก่อนหน้านั้นผมสวดมนต์ทำวัตรเย็นที่บ้าน แล้วสักพักผมก็ได้ยินเสียงคล้ายหยดน้ำดังเข้ามาในหัวของผมโดยไม่ทราบแหล่งที่มา ผมคิดถึงคำว่า ‘เซน’ จึงโพสต์ข้อความเช่นนั้นลงไปใน Facebook ส่วนตัว จากนั้นไม่กี่นาทีก็มีพี่ท่านหนึ่ง ตอบข้อความของผมว่า
อัศจรรย์แห่งการมีชีวิต
เมื่อประมาณ 40 ปีที่แล้ว เด็กหนุ่มที่จบด้านปฐพีวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ลงมาทำงานที่เหมืองแร่ภาคใต้เพื่อสำรวจแร่ต่างๆ วันหนึ่งขณะเขาเอาเสื้อผ้าไปซักในบ่อน้ำที่ใสสะอาด มองไปไกลลิบๆ ภูเขาซ้อนทับกันสวยงามและสงบ อยู่ๆ ก็มีเสียงเปรี้ยงดังเข้ามาในหัวว่า ‘ทำไมไม่ไปบวช’
หัวใจเปิดกว้างด้วยทัศนะแห่งมหายาน
โลกนี้มักแยกเป็นสองขั้วอยู่เสมอ ชาย-หญิง ขาวดำ-สีสันแสบตา ธรรมะธรรมโม-ขี้เมาหยำเป ผู้รู้-คนโง่ เถรวาท-มหายาน ฯลฯ อาจเพราะสีสันหลากหลายนี่ก็ได้ที่ประกอบร่างให้มนุษย์คนหนึ่งสนใจเรื่องศาสนาหลายๆ ด้าน โดยไม่นิยามว่าตนเองเป็นใคร
ศรัทธาแห่งปัญญา มุ่งสลายอัตตา ภาวนาเพื่อสรรพชีวิต
‘พุทธทิเบต’ คำคำนี้อาจทำให้เรานึกถึงภาพทังกาสีสันสดใสซึ่งวาดพระพุทธเจ้าปางต่างๆ ธงริ้วยาวสุดลูกหูลูกตา และตัวอักษรทิเบตที่ไม่คุ้นตา แต่เบื้องหลังสิ่งเหล่านี้มีชีวิตและจิตวิญญาณของพุทธศาสนาซ่อนอยู่ ซึ่ง รศ.ดร.กฤษดาวรรณ เมธาวิกุล นักวิชาการด้านภาษาทิเบตได้ซึมซับรับรู้ เมื่อได้ฝึกปฏิบัติลงลึกก็เปลี่ยนแปลงตนเองจนเกิดศรัทธา และอยากนำหัวใจของพุทธทิเบตนี้เข้ามาสู่ประเทศไทย
รู้ใจ รู้กาย สิ่งเรียบง่ายสู่ความสุขที่แท้จริง
‘ดูจิต ดูใจ’ ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ ได้ยิน ได้ฟัง ได้อ่าน คำนี้หลายครั้ง แต่ก็ยังสงสัยซ้ำๆ ว่ามันคืออะไร ดูอย่างไร และเพื่ออะไร คำอธิบายของผู้ชายคนนี้อาจจะช่วยคลี่คลายคำถามเหล่านั้นได้ แม้ว่าเขาไม่ใช่อาจารย์ธรรมะ ไม่ใช่ภิกษุสงฆ์ แต่ประสบการณ์การภาวนาในฐานะฆราวาสตั้งแต่วัยหนุ่ม การลองผิดลองถูก ล้มๆ ลุกๆ จนได้เจอหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช