2018 January
บทความรายเดือน:
- January 2021 (2)
- November 2020 (1)
- October 2020 (3)
- August 2020 (1)
- July 2020 (12)
- June 2020 (1)
- May 2020 (12)
- April 2020 (65)
- March 2020 (40)
- December 2019 (1)
- November 2019 (1)
- October 2019 (2)
- September 2019 (3)
- August 2019 (3)
- July 2019 (6)
- June 2019 (4)
- May 2019 (1)
- April 2019 (3)
- March 2019 (2)
- February 2019 (1)
- January 2019 (4)
- December 2018 (5)
- November 2018 (3)
- October 2018 (3)
- September 2018 (1)
- August 2018 (2)
- July 2018 (2)
- June 2018 (2)
- May 2018 (3)
- April 2018 (5)
- March 2018 (3)
- February 2018 (4)
- January 2018 (4)
- December 2017 (4)
- November 2017 (2)
- October 2017 (2)
- September 2017 (59)
- August 2017 (41)
- July 2017 (4)
- June 2017 (4)
- May 2017 (5)
- April 2017 (4)
- March 2017 (4)
- February 2017 (5)
- January 2017 (5)
- December 2016 (3)
- November 2016 (5)
- October 2016 (1)
- September 2016 (2)
- August 2016 (1)
- July 2016 (3)
- June 2016 (5)
- May 2016 (6)
- April 2016 (4)
- March 2016 (5)
- February 2016 (3)
- January 2016 (4)
- December 2015 (6)
- November 2015 (9)
- October 2015 (13)
- September 2015 (13)
- August 2015 (11)
- July 2015 (8)
- June 2015 (9)
- May 2015 (9)
- April 2015 (6)
- March 2015 (7)
- February 2015 (4)
- January 2015 (12)
- December 2014 (26)
- November 2014 (14)
- October 2014 (15)
- September 2014 (15)
- August 2014 (15)
- July 2014 (12)
- June 2014 (5)
- May 2014 (10)

แสนสุขสมนั่งชมวิหค…ยาบำรุงหัวใจของหมอนักอนุรักษ์
“การได้เห็นสิ่งที่อยู่ในธรรมชาติจริงๆ ปรากฎขึ้นตรงหน้าโดยที่เราไม่ได้คาดคิด มันมีพลังมาก จับหัวใจเรา ในนาทีที่ผมนั่งเฝ้านกนานๆ แล้วนกบินมา หัวใจมันพองโต มันมากกว่าความสุข เป็นความปีติอิ่มเอม นาทีนั้นอยากขอบคุณโชคชะตา ขอบคุณธรรมชาติ ขอบคุณใครก็ตามที่ทำให้ผมมีโอกาสได้อยู่ตรงนี้ วินาทีที่วิถีชีวิตของเรามาตัดกันพอดีช่างวิเศษเหลือเกิน”
น้ำเสียงของนายแพทย์รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ หรือ “หมอหม่อง” แพทย์โรคหัวใจและนักอนุรักษ์แถวหน้าของเมืองไทยถ่ายทอดความปลื้มปิติยามนึกถึงวินาทีสำคัญที่ได้เห็นนกหายากปรากฎขึ้นในสายตา
อ่านต่อ...
ครูณา…สร้างสายใยรักในครอบครัวด้วยโรงเรียนพ่อแม่
“ที่นี่บ้านผม คุณนั่นแหละออกไปจากบ้านนี้” เสียงสามีท้าทายภรรยาหลังจากทะเลาะกันถี่ขึ้นทุกวัน แม่ลูกสองเก็บเสื้อผ้าใส่กระเป๋าด้วยน้ำตานองหน้า พาลูกชายสองคนขับรถออกจากบ้านจังหวัดนครสวรรค์ไปจนถึงอยุธยา นั่งร้องไห้ระบายความเสียใจพร้อมกับคำถามมากมายผุดขึ้นในใจ เกิดอะไรขึ้นกับผู้หญิงที่คนรอบข้างต่างยกย่องว่าประสบความสำเร็จในชีวิตอย่างเธอ?
อดีตวิศวกรการสื่อสารผู้มีอนาคตไกลแต่ตัดสินใจลาออกเพื่อกลับมาเปิดโรงเรียนสอนเสริมแห่งแรกในจังหวัดบ้านเกิดจนประสบความสำเร็จมีสาขาถึงสามแห่ง
อ่านต่อ...
เปิดโลกการเรียนรู้คนรุ่นใหม่กับ ดร. อดิศร จันทรสุข
ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี
บรรยากาศเปิดปีการศึกษาใหม่คึกคักไปด้วยนักศึกษาที่เพิ่งผ่านรั้วโรงเรียนเข้าสู่มหาวิทยาลัย คนหนุ่มสาวในวัยแสวงหาความหมายต่างก้มหน้าก้มตามองดูหน้าจอมือถือของตนเอง บ้างอ่านข่าวสารอัพเดทในโลกสังคมออนไลน์ บ้างค้นหาสินค้าไอทีรุ่นใหม่ บ้างค้นหาผลิตภัณฑ์เสริมความงามไปจนถึงสถาบันลดความอ้วน
พอถึงเวลาเข้าเรียนชั่วโมงแรก ทุกคนแยกย้ายกันเข้าห้องเรียน เตรียมพร้อมจดเลคเชอร์ตามความเคยชิน ทว่า เมื่อย่างเท้าเข้าไปในห้อง พวกเขาต้องแปลกใจกับรูปแบบการจัดห้องที่เรียงเก้าอี้เป็นวงกลม ไม่มีโต๊ะกั้นกลางระหว่างอาจารย์และนักศึกษาเหมือนห้องเรียนทั่วไป ไม่กี่นาทีต่อมา อาจารย์คนแรกเดินเข้ามาในห้อง ตามด้วยคนที่สองและสาม นักศึกษาเริ่มทำหน้างงเพราะไม่แน่ใจว่า อาจารย์ประจำวิชานี้คือคนไหน จนกระทั่งได้รับคำชี้แจงว่า
อ่านต่อ...