2017 December
บทความรายเดือน:
- January 2021 (2)
- November 2020 (1)
- October 2020 (3)
- August 2020 (1)
- July 2020 (12)
- June 2020 (1)
- May 2020 (12)
- April 2020 (65)
- March 2020 (40)
- December 2019 (1)
- November 2019 (1)
- October 2019 (2)
- September 2019 (3)
- August 2019 (3)
- July 2019 (6)
- June 2019 (4)
- May 2019 (1)
- April 2019 (3)
- March 2019 (2)
- February 2019 (1)
- January 2019 (4)
- December 2018 (5)
- November 2018 (3)
- October 2018 (3)
- September 2018 (1)
- August 2018 (2)
- July 2018 (2)
- June 2018 (2)
- May 2018 (3)
- April 2018 (5)
- March 2018 (3)
- February 2018 (4)
- January 2018 (4)
- December 2017 (4)
- November 2017 (2)
- October 2017 (2)
- September 2017 (59)
- August 2017 (41)
- July 2017 (4)
- June 2017 (4)
- May 2017 (5)
- April 2017 (4)
- March 2017 (4)
- February 2017 (5)
- January 2017 (5)
- December 2016 (3)
- November 2016 (5)
- October 2016 (1)
- September 2016 (2)
- August 2016 (1)
- July 2016 (3)
- June 2016 (5)
- May 2016 (6)
- April 2016 (4)
- March 2016 (5)
- February 2016 (3)
- January 2016 (4)
- December 2015 (6)
- November 2015 (9)
- October 2015 (13)
- September 2015 (13)
- August 2015 (11)
- July 2015 (8)
- June 2015 (9)
- May 2015 (9)
- April 2015 (6)
- March 2015 (7)
- February 2015 (4)
- January 2015 (12)
- December 2014 (26)
- November 2014 (14)
- October 2014 (15)
- September 2014 (15)
- August 2014 (15)
- July 2014 (12)
- June 2014 (5)
- May 2014 (10)

ชัยฤทธิ์ อิ่มเจริญ ผู้ส่งมอบ “ฟาร์มสุข” ผ่านไอศกรีม
เมื่อเอ่ยถึง “ไอศกรีม” หรือ “ไอติม” ทุกคนคงนึกถึงความสุขและรอยยิ้มระหว่างการลิ้มรสความหวานเย็นชื่นใจ ไอศกรีมจึงเป็นสัญลักษณ์แห่งความสุขของมนุษย์อย่างหนึ่ง ยิ่งสำหรับเด็กๆ แล้ว ไอศกรีมแสนอร่อยยี่ห้อดังย่อมเป็นที่ปรารถนาให้ได้สัมผัสที่ปลายลิ้นยิ่งนัก
ตามปกติ เวลาใครอยากเลี้ยงเด็กตามสถานสงเคราะห์ต่างๆ คนส่วนใหญ่มักนึกถึงไอติมกะทิสดสีขาวถังใหญ่เพราะราคาเหมาะสมกับการเลี้ยงเด็กจำนวนมาก เด็กๆ จึงได้กินไอติมสีขาวโพลนหวานมันกันจนชินลิ้น
ลองคิดดูว่า ถ้าวันหนึ่งมี “ใครสักคน” ลงมือทำไอศกรีมที่ผลิตด้วยวัตถุดิบชั้นดี พร้อมท็อปปิ้งแบบจัดเต็มเหมือนร้านไอศกรีมชื่อดังไปแจกเด็กเหล่านี้ แววตาของเด็กน้อยจะมีความสุขมากเพียงใดยามปลายลิ้นได้สัมผัสรสชาติที่แตกต่างออกไปจากเดิม
อ่านต่อ...
มวยจีน…เส้นทางสู่การฝึกตนของหมอดิน
เมื่อพูดถึงมวยจีน คนส่วนใหญ่มักนึกการออกกำลังแบบที่เรียกกันว่า ไท่เก็ก(จีนแต้จิ๋ว) หรือไท่จี๋(จีนกลาง) สำหรับมวยจีนที่เรียกว่า “อี้เฉียน” (Yiquan) ซึ่งเป็นแนว “มวยจิต” เน้นสร้างความแข็งแกร่งจากภายในและใช้ท่าฝึกที่สอดคล้องกับการเคลื่อนไหวของร่างกายตอนเป็นเด็กอาจยังไม่ค่อยคุ้นหูนัก เพราะบ้านเรายังไม่มีการเปิดสอนมวยอี้เฉียนแพร่หลายนัก หนึ่งในคนไทยที่สนใจฝึกมวยจิตอย่างจริงจังมากว่าสิบปีที่ผ่านมา คือ “หมอดิน” หรือศิรฐเมฆา เวฬุภาค ผู้ให้การบำบัดรักษาตามศาสตร์การแพทย์แผนทิเบตจากประเทศอินเดียคนเดียวในเมืองไทยและผู้บำบัดด้วยคลื่นเสียง Crystal Singing Bowl อ่านต่อ...

ลมหายใจแห่งความสุข ณ ต้นทางแห่งการเปลี่ยนแปลง
ทุกคนเกิดมาย่อมอยากมีชีวิตที่มีความสุข แต่ดูเหมือนความสุขมักจะอยู่กับเราประเดี๋ยวประด๋าวแล้วก็จากไป ขณะที่ความทุกข์หมุนเวียนเข้ามาแทนที่ความสุขอย่างรวดเร็ว และอยู่กับเรานานกว่าความสุข หลายคนจึงพยายามวิ่งไขว่คว้าหาความสุขมาเติมเต็มชีวิตอยู่เสมอ แต่ทว่า ยิ่งเติมมากเท่าไหร่ ความสุขก็ยังไม่เต็มสักที นั่นเป็นเพราะเรากำลังไขว่คว้าหาความสุขภายนอก โดยที่ไม่เคยรู้ว่า ยังมีความสุขอีกรูปแบบหนึ่งที่ไม่ต้องวิ่งไขว่คว้า เพราะเป็นความสุขจากภายในที่ซ่อนอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคนตลอดเวลา นั่นคือ ความสุขจากการอยู่กับลมหายใจปัจจุบันของเรานั่นเอง อ่านต่อ...

หมอต้นไม้…เมตตาธรรมค้ำจุนโลกสีเขียว
เมื่อเอ่ยถึงอาชีพ "หมอต้นไม้" อาจเป็นคำที่เพิ่งเริ่มคุ้นหูคนไทยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา แต่แท้จริงแล้ว อาชีพนี้มีมานานแล้วและในหลายประเทศให้ความสำคัญมาก โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น เพราะหน้าที่หลักของหมอต้นไม้ คือ การดูแลรักษาต้นไม้เก่าแก่ให้อยู่คู่กับชุมชนเพื่อทำหน้าที่บอกเล่าประวัติศาสตร์ของชุมชนให้คนรุ่นต่อไปได้รับรู้ สำหรับบ้านเราเพิ่งเริ่มได้ยินคำนี้ในช่วงสิบปีที่ผ่านมาโดยมีศาสตร์จารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำเป็นหมอต้นไม้รุ่นบุกเบิก และต่อมาอาจารย์บรรจง สมบูรณ์ชัย คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้นำแนวคิดหมอต้นไม้มาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักในวงกว้างมากยิ่งขึ้น อ่านต่อ...