2017 July
บทความรายเดือน:
- June 2022 (7)
- March 2022 (3)
- February 2022 (1)
- January 2022 (1)
- December 2021 (6)
- November 2021 (6)
- October 2021 (11)
- September 2021 (16)
- August 2021 (5)
- July 2021 (11)
- June 2021 (7)
- May 2021 (13)
- April 2021 (2)
- March 2021 (1)
- February 2021 (1)
- January 2021 (2)
- November 2020 (1)
- October 2020 (3)
- August 2020 (1)
- July 2020 (12)
- June 2020 (1)
- May 2020 (12)
- April 2020 (65)
- March 2020 (40)
- December 2019 (1)
- November 2019 (1)
- October 2019 (2)
- September 2019 (3)
- August 2019 (3)
- July 2019 (6)
- June 2019 (4)
- May 2019 (1)
- April 2019 (3)
- March 2019 (2)
- February 2019 (1)
- January 2019 (4)
- December 2018 (5)
- November 2018 (3)
- October 2018 (3)
- September 2018 (1)
- August 2018 (2)
- July 2018 (2)
- June 2018 (2)
- May 2018 (3)
- April 2018 (5)
- March 2018 (3)
- February 2018 (4)
- January 2018 (4)
- December 2017 (4)
- November 2017 (2)
- October 2017 (2)
- September 2017 (59)
- August 2017 (41)
- July 2017 (4)
- June 2017 (4)
- May 2017 (5)
- April 2017 (4)
- March 2017 (4)
- February 2017 (5)
- January 2017 (5)
- December 2016 (3)
- November 2016 (5)
- October 2016 (1)
- September 2016 (2)
- August 2016 (1)
- July 2016 (3)
- June 2016 (5)
- May 2016 (6)
- April 2016 (4)
- March 2016 (5)
- February 2016 (3)
- January 2016 (4)
- December 2015 (6)
- November 2015 (9)
- October 2015 (13)
- September 2015 (13)
- August 2015 (11)
- July 2015 (8)
- June 2015 (9)
- May 2015 (9)
- April 2015 (6)
- March 2015 (7)
- February 2015 (4)
- January 2015 (12)
- December 2014 (26)
- November 2014 (14)
- October 2014 (15)
- September 2014 (15)
- August 2014 (15)
- July 2014 (12)
- June 2014 (5)
- May 2014 (10)
ราคาของการเปลี่ยนแปลง
ขอเดาว่าครั้งหนึ่งหรือหลาย ๆ ครั้งในชีวิตที่เราทุกคนต่างเคยคิดว่า “เอาล่ะ ฉันจะเปลี่ยนแปลงชีวิตฉันให้มีความสุขมากขึ้นเสียที” หลังจากนั้น อาจจะมีบางคนที่สามารถเปลี่ยนแปลงตัวเองจนสำเร็จ บางคนก็ยังรี ๆ รอ ๆ แล้วก็มีอีกหลายคนที่อาจจะลืมเลือนและไม่ได้ทำอะไรสักอย่าง อะไรคือตัวแปรสำคัญที่ทำให้ใครสักคนลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงชีวิตของตัวเอง? และถ้าการเปลี่ยนแปลงในชีวิตตีเป็นราคาได้ เราคิดว่าราคาของมันจะสูงสักเท่าไร? อ่านต่อ...
ฮ่องกงคนขยันเดินที่สุดในโลกและช่วยส่งเสริมสุขภาพ
ทุกๆ ปีมีผู้คนราว 5.3 ล้านคนตายจากสาเหตุง่าย ๆ คือ เคลื่อนไหวร่างกายน้อยเกินไป ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากรูปแบบการทำงานที่วันๆ นั่งทำงานเฉยๆ และการเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวันที่น้อยเกินไป องค์การอนามัยโลกพบว่าการนั่ง ๆ นอนๆ เป็นสาเหตุหนึ่งของการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวาน โรคอ้วน เพิ่มความเสี่ยงของการเป็นมะเร็งลำไส้ ความดันโลหิตสูง กระดูกผุ และมีผลทางใจ ทำให้เป็นโรคซึมเศร้าและกังวล นักวิจัยจาก Standford ใช้โทรศัพท์มือถือในการติดตามระดับกิจกรรมของคนหลายแสนคนทั่วโลกผ่าน application Azumio Argus พบว่าโรคอ้วนในแต่ละประเทศมีความสัมพันธ์กับระดับการเคลื่อนไหวร่างกายในแต่ละวัน งานวิจัยนี้ตีพิมพ์ในวารสาร Nature โดยใช้ข้อมูลจากโทรศัพท์มือถือของคนจำนวน 717,527 ใน 111 ประเทศ เป็นเวลา 95 วัน จากข้อมูลพบว่าชาวฮ่องกงมีอัตราการเดินเฉลี่ยสูงเป็นอันดับหนึ่งที่ 6,880 ก้าวต่อวัน อันดับสองคือชาวจีนแผ่นดินใหญ่ มีอัตราการเดินเฉลี่ย 6,189 ก้าวต่อวัน และอันดับสามคือชาวยูเครน มีอัตราการเดินเฉลี่ย 6,107 ก้าวต่อวัน ส่วนชาวอินโดนีเซียถูกจัดอยู่ในอันดับสุดท้ายด้วยอัตราการเดินเฉลี่ยเพียง 3,513 ก้าวต่อวัน เมื่อเทียบกับอัตราเฉลี่ยทั่วโลกซึ่งอยู่ที่ 4,961 ก้าวต่อวัน อ่านต่อ...
ทำงานแล้วความคิดตีบตัน ลองปล่อยใจฝันตามคำแนะนำของนักวิจัยดู
ความสามารถในการจดจ่อ การมีสมาธิกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นตัวผลักดันสำคัญสู่ความเป็นเลิศ เทคนิคต่างๆ ที่เราใช้กัน เช่น การทำรายการสิ่งที่ต้องทำ การทำตารางการทำงาน การแจ้งเตือนจากปฏิทิน ล้วนช่วยให้เราทำงานลุล่วง เหล่านี้เป็นสิ่งที่คงไม่มีใครค้านแน่นอน แถมยังมีหลักฐานว่า การทำสมาธิแค่วันละ 10 นาที ช่วยเพิ่มประสิทธิผลของความเป็นผู้นำ โดยช่วยให้คุณสามารถจัดการกับอารมณ์และเข้าใจเหตุการณ์ที่ผ่านไปแล้วได้ดีขึ้น เอาล่ะ แม้ความสามารถในการมีสมาธิจดจ่อจะเป็นเรื่องดีแน่นอน แต่ก็มีข้อน่ากังวล เพราะการจดจ่อมากเกินไป ทำให้วงจรในสมองของคุณอ่อนล้า และทำให้คุณหมดพลังและเสียการควบคุมตนเอง นอกจากนั้นยังทำให้คุณวู่วาม และให้ความช่วยเหลือและร่วมมือกับผู้อื่นน้อยลง แล้วตกลงจะให้ทำอย่างไร จดจ่อ หรือ ไม่จดจ่อ? งานวิจัยแนะว่า ทั้งการจดจ่อ และ ไม่จดจ่อ ล้วนมีความสำคัญยิ่ง สมองทำงานได้ที่ที่สุดเมื่อมีการสลับกันระหว่างการ จดจ่อ และ ไม่จดจ่อ ซึ่งจะช่วยให้คุณมีความยืดหยุ่น มีความคิดสร้างสรรค์ และตัดสินใจได้ดีขึ้น อ่านต่อ...
เยียวยาใจด้วยเมตตา
…ในวันที่น้ำตา ไม่ใช่คำตอบสุดท้ายของความเศร้า... ระยะนี้มีข่าวคราวการสูญเสียมาให้เราได้ยินได้ฟังติดต่อกันหลายข่าว ไม่ว่าใครเมื่อต้องเผชิญหน้ากับความสูญเสียล้วนเป็นทุกข์ แม้เราเองแค่เป็นผู้ได้ยินข่าวบางครั้งก็ยังอดเศร้าสะเทือนใจไม่ได้ แต่ความจริงอีกด้านก็คือ เราทุกคนล้วนต้องเจอกับความสูญเสียไม่ช้าก็เร็ว คงจะเป็นเรื่องดีไม่น้อย ถ้าเราจะสามารถเปลี่ยนพลังลบจากความเศร้า ให้เป็นพลังบวกทั้งต่อชีวิตของเราและผู้อื่นได้ ต่อไปนี้คือบทความจากพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล ที่ได้แนะนำแนวทางให้เราเยียวยาใจที่เป็นทุกข์จากความสูญเสียด้วยความเมตตา ให้เราเปลี่ยนความทุกข์ในใจ กลายเป็นพลังที่จะออกไปช่วยเหลือผู้อื่นให้คลายจากความทุกข์ และเมื่อนั้น...ความสุขในชีวิตของเราจะกลับมากี่ครั้ง อ่านต่อ...