2017 April
บทความรายเดือน:
- June 2022 (7)
- March 2022 (3)
- February 2022 (1)
- January 2022 (1)
- December 2021 (6)
- November 2021 (6)
- October 2021 (11)
- September 2021 (16)
- August 2021 (5)
- July 2021 (11)
- June 2021 (7)
- May 2021 (13)
- April 2021 (2)
- March 2021 (1)
- February 2021 (1)
- January 2021 (2)
- November 2020 (1)
- October 2020 (3)
- August 2020 (1)
- July 2020 (12)
- June 2020 (1)
- May 2020 (12)
- April 2020 (65)
- March 2020 (40)
- December 2019 (1)
- November 2019 (1)
- October 2019 (2)
- September 2019 (3)
- August 2019 (3)
- July 2019 (6)
- June 2019 (4)
- May 2019 (1)
- April 2019 (3)
- March 2019 (2)
- February 2019 (1)
- January 2019 (4)
- December 2018 (5)
- November 2018 (3)
- October 2018 (3)
- September 2018 (1)
- August 2018 (2)
- July 2018 (2)
- June 2018 (2)
- May 2018 (3)
- April 2018 (5)
- March 2018 (3)
- February 2018 (4)
- January 2018 (4)
- December 2017 (4)
- November 2017 (2)
- October 2017 (2)
- September 2017 (59)
- August 2017 (41)
- July 2017 (4)
- June 2017 (4)
- May 2017 (5)
- April 2017 (4)
- March 2017 (4)
- February 2017 (5)
- January 2017 (5)
- December 2016 (3)
- November 2016 (5)
- October 2016 (1)
- September 2016 (2)
- August 2016 (1)
- July 2016 (3)
- June 2016 (5)
- May 2016 (6)
- April 2016 (4)
- March 2016 (5)
- February 2016 (3)
- January 2016 (4)
- December 2015 (6)
- November 2015 (9)
- October 2015 (13)
- September 2015 (13)
- August 2015 (11)
- July 2015 (8)
- June 2015 (9)
- May 2015 (9)
- April 2015 (6)
- March 2015 (7)
- February 2015 (4)
- January 2015 (12)
- December 2014 (26)
- November 2014 (14)
- October 2014 (15)
- September 2014 (15)
- August 2014 (15)
- July 2014 (12)
- June 2014 (5)
- May 2014 (10)
คุณยายยอดนักเขียน
หลายสิ่งหลายอย่างในโลกนี้อาจมีวันหมดอายุ แต่ 'ความฝัน' ไม่เคยเป็นเช่นนั้น ขอแนะนำให้รู้จักคุณยายชาวจีนนาม 'เจียง ซู่ เหม่ย' ผู้ซึ่งบรรลุความฝันในยามเยาว์วัยของเธอ ด้วยการฝึกหัดอ่านเขียนหนังสือด้วยตัวเองเมื่ออายุ 60 และก้าวเป็นนักเขียนเต็มตัวในวัย 70 ปี ! 'เจียง ซู่ เหม่ย' เกิดที่เมืองชางตง ประเทศจีน คุณพ่อและพี่ชายของเธอได้รับการศึกษาในระดับดี บ้านของเธอเปิดโรงเรียนสอนหนังสืออยู่ในหมู่บ้าน แต่ด้วยสถานการณ์การเมืองที่เปลี่ยนแปลงของประเทศจีนทำให้ครอบครัวต้องถูกยึดทรัพย์ แตกแยกไปคนละทิศละทาง ในปี 1960 เจียง ซู่ เหม่ย อพยพครอบครัวที่มีสามีและลูกมาอยู่ที่เมืองเหยหลงเจียง ช่วงนี้เองที่ชีวิตต้องเผชิญหน้ากับความแร้นแค้นแสนสาหัส อดอยากยากแค้น ซึ่งกลายเป็นวัตถุดิบสำคัญในการสร้างสรรค์ผลงานเขียนชิ้นเยี่ยมของเธอต่อมา อ่านต่อ...
6 เคล็ดลับทำงานให้มีสุข
คุณกำลังเบื่อ...เซ็ง...ทำงานซังกะตายไปวันๆ แบบไม่มีความสุขอยู่หรือเปล่า? ถ้าคำตอบคือ ใช่...ลองมาติดตาม 6 เคล็ดลับที่จะเปลี่ยนการทำงานของคุณให้มีความสุขจากเจ้าของรางวัล The Giver Award สาขาความสุขจากการทำงาน พญ.ช่อทิพย์ นาถสุภา พัฒนะศรี กันดีกว่า “เช้าวันมหิดล ไปดูคนไข้ด้วยความรู้สึกขอบคุณสถาบัน ขอบคุณครูอาจารย์ ขอบคุณทุกความช่วยเหลือเกื้อกูลของผู้คนมากมายที่ทำให้ได้เรียนรู้และยืนอยู่ที่นี่ในวันนี้....บ่ายช่วยกันเก็บข้าวของที่ไม่ได้ใช้ในบ้านมาบริจาคที่ปันกัน พ่อกับแม่ก็ช่วยกันเก็บข้าวของมาใส่ถุงบริจาคให้ด้วย ขอบคุณแคมเปญวันมหิดลที่ทำให้เราได้กลับมาคิดว่าในวันนี้เราได้ทำอะไรดี ๆ ให้ตัวเองและคนรอบตัวบ้าง และมีกำลังใจที่จะทำอะไรเล็ก ๆ ด้วยความตั้งใจต่อไปในทุก ๆ วัน #วันมหิดล #MahidolDayofService #MUEG1 #MURA25” อ่านต่อ...
ผลของความดี – บริจาครถพยาบาลไม่ทันไร ก็ได้ใช้บริการเอง
หลังจากที่คู่สามีภรรยาสูงอายุตระกูล Good ได้รางวัลจากการจับสลากที่โรงพยาบาล St.John ที่ประเทศนิวซีแลนด์ พวกเขาตัดสินใจบริจาคเงินเพื่อซื้อรถพยาบาลมูลค่า 180,000 เหรียญให้แก่โรงพยาบาลชุมชนเมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา แค่อีก 3 เดือนต่อมา Beryl Good อายุ 71 ปี เกิดลื่นล้มที่ระเบียงหน้าบ้านและแขนหัก และรถพยาบาลที่มารับตัวเธอไปมีชื่อว่า Dobegoo ซึ่งเป็นชื่อรวมกันของสองสามีภรรยาที่บริจาครถคันนี้นั่นเอง (Douglas + Beryl + Good) อ่านต่อ...
ความสุขในโลกใต้น้ำ
ท่ามกลางอากาศร้อนในเดือนเมษายน ความสุขประเทศไทยขอชวนไปทำความดีที่ได้ทั้งความเย็นกายเย็นใจกับเจ้าของรางวัล The Giver Award สาขาความสุขจากการสัมผัสธรรมชาติ 'ดร.อาทร นกแก้ว' ผู้เลือกกิจกรรมดำน้ำเก็บขยะ สร้างประโยชน์ให้ทั้งกับตัวเอง ท้องทะเล และสังคม “ผมชอบดำน้ำเพราะเป็นคนชอบธรรมชาติ การดำน้ำเปิดมุมมองให้ผมได้เรียนรู้โลกใบใหม่ที่เราไม่คุ้นเคย ทุกครั้งที่ได้ลงน้ำผมมีความสุขอยู่แล้ว แต่ว่าการที่ลงไปดำน้ำแล้วได้ทำประโยชน์ด้วย มันก็ยิ่งเป็นความสุขอีกต่อหนึ่ง เพราะเป็นความสุขที่มีประโยชน์กับคนอื่นด้วย” ดร. อาทร นกแก้ว เป็นทั้งศิษย์เก่าและอาจารย์ปัจจุบันที่มหาวิทยาลัยมหิดล งานหลักของ ดร.อาทร คือการเป็นอาจารย์ประจำสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล แต่หากมีเวลาว่างเมื่อไร ดร.อาทร ก็จะหลีกหนีความวุ่นวายของเมืองกรุง มุ่งสู่ท้องทะเลสีฟ้าคราม ดำน้ำลึกลงไปจนถึงใต้ท้องทะเล เปิดใจกายในโลกใบใหม่ที่สงบและมีความสุข อ่านต่อ...