2016 February
บทความรายเดือน:
- March 2022 (3)
- February 2022 (1)
- January 2022 (1)
- December 2021 (6)
- November 2021 (6)
- October 2021 (11)
- September 2021 (16)
- August 2021 (5)
- July 2021 (11)
- June 2021 (7)
- May 2021 (13)
- April 2021 (2)
- March 2021 (1)
- February 2021 (1)
- January 2021 (2)
- November 2020 (1)
- October 2020 (3)
- August 2020 (1)
- July 2020 (12)
- June 2020 (1)
- May 2020 (12)
- April 2020 (65)
- March 2020 (40)
- December 2019 (1)
- November 2019 (1)
- October 2019 (2)
- September 2019 (3)
- August 2019 (3)
- July 2019 (6)
- June 2019 (4)
- May 2019 (1)
- April 2019 (3)
- March 2019 (2)
- February 2019 (1)
- January 2019 (4)
- December 2018 (5)
- November 2018 (3)
- October 2018 (3)
- September 2018 (1)
- August 2018 (2)
- July 2018 (2)
- June 2018 (2)
- May 2018 (3)
- April 2018 (5)
- March 2018 (3)
- February 2018 (4)
- January 2018 (4)
- December 2017 (4)
- November 2017 (2)
- October 2017 (2)
- September 2017 (59)
- August 2017 (41)
- July 2017 (4)
- June 2017 (4)
- May 2017 (5)
- April 2017 (4)
- March 2017 (4)
- February 2017 (5)
- January 2017 (5)
- December 2016 (3)
- November 2016 (5)
- October 2016 (1)
- September 2016 (2)
- August 2016 (1)
- July 2016 (3)
- June 2016 (5)
- May 2016 (6)
- April 2016 (4)
- March 2016 (5)
- February 2016 (3)
- January 2016 (4)
- December 2015 (6)
- November 2015 (9)
- October 2015 (13)
- September 2015 (13)
- August 2015 (11)
- July 2015 (8)
- June 2015 (9)
- May 2015 (9)
- April 2015 (6)
- March 2015 (7)
- February 2015 (4)
- January 2015 (12)
- December 2014 (26)
- November 2014 (14)
- October 2014 (15)
- September 2014 (15)
- August 2014 (15)
- July 2014 (12)
- June 2014 (5)
- May 2014 (10)
‘ซ โซ่ อาสา’ พลังขับเคลื่อนสังคมด้วยความรัก
ห่วงเหล็กชิ้นเล็กๆ เพียง 1-2 ชิ้นคงไร้ความหมาย แต่หากนำมาร้อยต่อกันเป็นเส้นยาว จะกลายเป็นสายโซ่อันแข็งแกร่ง เช่นเดียวจิตอาสาหากจับมือร่วมกัน ย่อมมีพลังขับเคลื่อนและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ เพื่อชุมชนและสังคม ท่ามกลางความเจริญอย่างไม่หยุดยั้งของกรุงเทพมหานคร ยังมีพื้นที่เล็กๆ ของคนอีกกลุ่มหนึ่งที่มักถูกละเลยและมองข้ามอยู่เสมอ นั่นคือเด็กที่มาจากครอบครัวในชุมชนแออัด ครอบครัวคนไร้บ้าน ที่แม้ความพรั่งพร้อมทางวัตถุจะอยู่ใกล้เพียงปลายจมูก แต่กลับยากเกินกว่าจะไขว่คว้าถึง และนั่นคือเหตุผลที่ทำให้ครูปู่ - ธีระรัตน์ ชูอำนาจ อดีตคุณครูวัยย่าง 82 ปี ได้ก่อตั้งกลุ่ม 'ซ โซ่อาสา' ขึ้นตั้งแต่เมื่อ 16 ปีที่แล้ว ด้วยจุดประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลาง ที่จะช่วยรวมพลังชาวจิตอาสาเข้ามาดูแลและช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสกลุ่มนี้ “กรุงเทพฯ ยังมีเด็กด้อยโอกาสอีกเยอะ เขาด้อยโอกาสทั้งเรื่องของปัจจัย 4 ด้อยโอกาสในการเข้าถึงความรู้ การอบรม และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ ด้อยโอกาสที่จะสัมผัสความรัก ความอบอุ่น" ครูปู่กล่าวถึงปัญหาเด็กด้อยโอกาสในกรุงเทพมหานคร กลุ่ม ซ โซ่อาสา เลือกวิธีการส่งมอบโอกาสให้เด็กๆ และครอบครัวคนด้อยโอกาส ผ่านบทบาท 'ครูอาสา' ในพื้นที่ต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร สวนกระแสภาพครูอาสาในพื้นที่ห่างไกลที่คนหนุ่มสาวส่วนใหญ่คุ้นชิน อ่านต่อ...
การเจริญสติทำให้อายุยืนขึ้นเพราะอะไร?
คนเราจะมีอายุยืนหรือไม่ก็อาศัยปัจจัยต่างๆ ตั้งแต่พันธุกรรม ไปจนถึงการดำเนินชีวิต เช่น อาหาร คนที่กินอาหารที่มีพลังงานมาก พวกไขมัน แป้ง น้ำตาล จำนวนมาก จะทำให้อายุจะสั้นลง คนที่ได้รับอนุมูลอิสระเข้าไปในร่างกายจากสิ่งแวดล้อมมากทำให้เกิดการอักเสบขึ้นในร่างกายก็จะอายุสั้นลง คนที่ไม่ออกกำลังกายเป็นประจำก็มีแนวโน้มจะเป็นโรคเรื้อรังต่างๆได้มากและอายุสั้นลง คนที่มีความเครียดมากอายุก็จะสั้นลง อ่านต่อ...
นิทานสร้าง…..ได้
การรวมกลุ่มของครอบครัวที่มีความทุกข์คล้ายๆ กัน เปรียบเหมือนการสร้างเครือข่ายแห่งความห่วงใย เกิดเป็นพลังที่เกาะเกี่ยวเดินไปข้างหน้าด้วยกันอย่างมีความสุข ไม่อ้างว้างหรือท้อแท้ “ทายสิคะ แม่ตุ่นกำลังจะเล่านิทานเรื่องอะไร?” ทันทีที่แม่ตุ่นชูมือที่ซ่อนไว้ข้างหลังออกมาให้เห็นทั่วกัน เสียงจ้อกแจ้กในห้องก็เงียบลง สายตาทุกคู่จับจ้องอยู่ที่มือของแม่ตุ่น ที่ตอนนี้ปรากฎหุ่นมือตัวนิ่มสีเขียวสด ใบหน้าเป็นรูปกบยิ้มทะเล้นส่งมา “เจ้าชายกบๆ...” หลายเสียงช่วยกันตอบ แม่ตุ่นยื่นหุ่นน้อยในมือไปหาเด็กหญิงคนหนึ่ง คุณแม่ของเด็กน้อยส่งสัญญาณบอกให้ลูกจุมพิตหุ่นน้อย เด็กน้อยจุ๊บเจ้าหุ่นอย่างเอียงอาย ตอนนั้นเองที่แม่ตุ่นพลิกหุ่นกลับอีกด้าน กลายเป็นเจ้าชายหนุ่มรูปหล่อ เรียกเสียงเสียงปรบมือจากทุกครอบครัว “ทำไมแค่เห็นกบเราถึงรู้ว่าเป็นเรื่องเจ้าชายกบ? ทำไมเรารู้ว่าจะต้องจูบกบ?” แม่ตุ่นกล่าวชวนให้คิด "เพราะมันเป็นนิทานที่คุณพ่อคุณแม่เคยฟังตอนเด็กๆ ใช่ไหมคะ? แล้วเราฟังมานานเท่าไรแล้ว? 10 หรือ 20 ปี...หรือมากกว่านั้น....ทำไมเราจำได้...เพราะนิทานมันจับหัวใจเราใช่ไหมคะ? นี่แหละค่ะความพิเศษของสิ่งที่เรียกว่านิทาน....” นี่เป็นส่วนหนึ่งของบรรยากาศกิจกรรมการเล่านิทานของทีม 'นิทานสร้างได้' ซึ่งจับมือร่วมกับสถาบันราชานุกูล ในโครงการนิทานเพื่อการบำบัด โดยเปิดโอกาสให้ครอบครัวที่มีเด็กที่มีความต้องการพิเศษกว่า 50 ครอบครัวมาร่วมกันฝึกใช้นิทานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการให้กับเด็กกลุ่มนี้ อ่านต่อ...